การเมืองเรื่องเพศของเกย์

pumpuii ถามเมื่อ 5 ปี ที่แล้ว

มองการเมืองด้วยแนวคิดของสตรีนิยม (feminism) ที่วิเคราะห์การเมือง
ในฐานะการต่อสู้ทางเพศ
เมื่อหนังยุดตลาคมน้นแต่ “การเมืองเชิงเผด็จการ” หนังปัจจุบันกลับ
ก้าวสู่มิติการเมืองเรื่อง “เพศ” ตามกระแสของสตรีนิยม โดยมุ่งมิติของเพศ
หญิงชายบนแผ่นฟิลม์ (สนใจการศึกษาโปรดดู กาญจนา แก้วเทพ, 2543) และ
ที่อาจก้าวไปกลกว่านั้น คือมิได้แต่มองฉพาะเรื่องเพศหญิงที่ตกเป็นเหยื่อของ
สังคมแบบชายเป็นใหญ่ แต่ขยายขอบเขตออกไปสู่สงครามของคนที่ถูกเรียกว่า
เพศที่สามหรือเกย์ อันถือเป็นประเด็นร้อนแรงและเร่าร้อนในปัจจุบัน
ในเชิงปริมาณ หากลองนับตัวเลขภาพยนตร์ที่เริ่มนำเสนอประเด็นเกย์
ในยุคปัจจุบันอาจพบว่า มีภาพยนตร์อยู่หลายเรื่องเช่น สตรีเหล็ก (2543) สตรี
เหล็กสอง (2545) พรางชมพู (2545) สยิว (2546) วายบึม (254) และที่กำลัง
ผลิตอยู่อีกมากมาย ภาพยนตร์เรื่อง “สตรีเหล็ก” ถือเป็นตัวนำร่องความสำเร็จและได้รับการยอมรับในหมู่คนดู ส่วนภาพยนตร์เรื่อง “สยิว” ถือเป็นภาพยนตร์
อีกเรื่องที่กล้นำเสนอประเด็น ทอมเพื่อตีแผ่ปัญหาทอมให้ชัดเจนยิ่งขึ้น
ในเชิงคุณภาพ อัตราการเติบโตของภาพยนตร์มีสูงขึ้นสืบเนื่องจากกระแสการเรียกร้องสิทธิเสรีภาพของบรรดาเพศที่สามในสังคมตะวันตกเริ่มเข้าสู่เมืองไทยและเปรียบเสมือนเค้าฝนห่าใหญ่ที่กำลังเตรียมพร้อมต่อการปะทะต่อผืนดินชายเป็นใหญ่และรักต่างเพศที่แห้งแล้งให้ยอมรับพื้นที่ของกลุ่มชาย
รักชายและหญิงรักหญิง หากเรามองว่า “กุมภาพันธ์” เป็นเพียงการต่อสู้ของการเมืองในชีวิตของ
คนสองคน ภาพยนตร์ที่นำเสนอเพศที่สามอาจเป็นการต่อสู้ “โครงสร้าง” ที่ยิ่ง เหนือไปจากอำนาจของผู้นำผด็จการ เพราะว่า อำนาจที่เพศที่สามกำลังต่อสู้
คืออำนาจที่มองไม่ห็นที่ถักร่างแหทอดคลุมความหมายของความเป็นชายและ
หญิงในสังคมไทย ภาพยนตร์ทุกเรื่องจึงพยายามเปิดให้เห็นปัญหาการกีดกัน
ทางเพศอันไม่เป็นธรรมของพวกเขาและเธอ ต่อจากนั้น ก็จะแสดงให้เห็นการ
ต่อสู้ในหลากหลายรูปแบบ และตอกย้ำความเป็นคน มีเลือดเนื้อเชื้อไข มิใช่
เพียงหุ่นยนต์
สนับสนุนโดย 918kiss
สุดท้ายจบลงด้วยการที่สังคมเริ่มยอมแง้มประตูบางส่วนสำหรับ
เขาและเธอด้วยเหตุนี้ การต่อสู้ของพวกเขาและเธอหรือพวกเธอและเขาก็อาจไม่
แตกต่างไปจากการต่อสู้ของนักศึกษายุค 14 ตุลาคม ก็เป็นได้ แต่จุดต่างที่
สำคัญ ดูเหมือนว่า ผลสุดท้ายของการต่อสู้เช่นนี้มิได้เป็นเรื่องง่าย บทสรุปมัก
จะลงเอยที่ว่า มีเพียงคนไม่กี่คนเท่านั้นที่สามารถเดินผ่านประตูนามเพศสภาพ
(Gender) ออกไปได้ และถูกวิจารณ์ว่า อาจนำเสนอภาพของเพศที่สามที่ไม่
ครบถ้วนบริบูรณ์ 

This site uses Akismet to reduce spam. Learn how your comment data is processed.

Your Answer